ReadyPlanet.com
dot
>...ตั้มศรีวิชัย TumAmulet ...< Thailand Amulet Charms
dot
bulletคำแนะนำจากตำรวจเมื่อถูกโกง
bulletเงื่อนไขการรับประกัน การันตีพระเครื่อง
dot
สารบัญพระเครื่องเมืองนคร
dot
bulletทำเนียบพระกรุเมืองนคร
bulletทำเนียบพระเครื่องเมืองนคร
bulletชมรมพระเครื่อง
dot
บูชาพระเครื่อง เครื่องรางของขลัง Amulets Charms Talismans
dot
bulletตลาดพระ amulet for you
bulletเช่า-บูชา เครื่องรางของขลัง
bulletพระหลวงปู่ทวด วัดต่างๆ
dot
จตุคาม-รามเทพ หลักเมืองนคร Jatukamramtep (Jatukarm)
dot
bulletหลักเมืองนครศรีธรรมราช
bulletจตุคาม ของดีนำมาโชว์
bulletบทความ น่ารู้องค์พ่อจตุคาม
bulletJatukam Amulets
bulletบทความจตุคามรามเทพ
dot
ลิงค์น่าสนใจ
dot
bulletหนังสือพิมพ์
bulletลิ้งค์เพื่อนบ้าน
bulletเทศกาล วันสำคัญ
bulletดวง ดูดวง หน้าหลัก
bulletบทความดีๆ
bulletนิทานสอนใจ
bulletวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย
bulletบทสวดมนต์ สำหรับชาวพุทธ
dot
พระเครื่อง นานาสาระ
dot
bulletพระพุทธรูปสำคัญของไทย
bulletคาถา-อาคม พระคาถาอาคม
bulletพระพุทธรูปปางต่างๆ
bulletพุทธศาสนสุภาษิต
bulletข่าวพระเครื่อง
bulletบทความพระเครื่อง
bulletThai Buddha Amulets
bulletข่าวพระพุทธศาสนา
bulletข่าวเครื่องรางของขลัง
bulletสาระพระเครื่องไทย
bulletประวัติพระวิปัสสนาจารย์




๒๔.พระพุทธรูปปางรำพึง

 พระพุทธรูปปางรำพึง
พระพุทธรูปปางรำพึง

 พระพุทธรูปปางรำพึง วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้งสองประสานยกขึ้นประทับที่พระอุระ ( อก ) พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย

ประวัติพระพุทธรูปปางรำพึง ความเป็นมาของ ปางรำพึง ตามพุทธประวัติ
   ขณะที่ประทับเสวยวิมุตติสุขอยู่ใต้ต้นไทร พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพิจารณาเห็นว่า บุคคลในโลกนี้เปรียบเสมือนบัว ๔ เหล่า ดังนี้ คือ ( ๑ ) อุคฆฏิตัญญู คือ พวกที่สติปัญญาดี เมื่อฟังธรรมก็สามารถเข้าใจได้รวดเร็ว เสมือนดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำ เมื่อต้องแสงอาทิตย์ก็เบ่งบานทันที ( ๒ ) วิปจิตัญญู คือ พวกที่มีสติปัญญาปานกลาง เมื่อฟังธรรมแล้วพิจารณาตาม ฝึกฝนเพิ่มเติมจะเข้าใจได้ในเวลาอันไม่ช้า เสมือนดอกบัวที่ปริ่มน้ำซึ่งจะบานในวันถัดไป ( ๓ ) เนยยะ คือ พวกที่สติปัญญาน้อย เมื่อฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและ ฝึกฝนอยู่เสมอ มีความขยันหมั่นเพียรไม่ย่อท้อในที่สุดก็จะสามารถเข้าใจได้ เสมือนดอกบัวใต้น้ำซึ่งจะโผล่ขึ้นเบ่งบานในวันหนึ่ง ( ๔ ) ปทปรมะ คือ พวกไร้สติปัญญา แม้ได้ฟังธรรม ก็ไม่อาจเข้าใจ เปรียบเสมือนบัวที่จมอยู่กับโคลนตม ไม่มีโอกาสเบ่งบาน เมื่อพระพุทธองค์ทรงพิจารณาด้วยพระปรีชาญาณ ก็ทรงอธิษฐานว่าจะแสดงธรรมสั่งสอนเวไนยสัตว์ และตั้งพุทธปณิธานที่จะดำรงพระชนม์อยู่จนกว่าจะได้อยู่ประกาศพระพุทธศาสนาเป็นมาของ ปางรำพึง  ให้แพร่หลายสำเร็จประโยชน์แก่ชนทุกหมู่เหล่า




พระพุทธรูปปางต่างๆ ความหมายปางพระพุทธรูป ของไทย

พระพุทธรูปปางชนะมาร
พระพุทธรูปสมัยอู่ทอง
พระพุทธรูปทรงเครื่องปางมารวิชัย ศิลปะแบบบายน(เขมร)
ประวัติการสร้างพระพุทธรูป
ตำนานพระแก่นจันทร์
๑.พระพุทธรูปปางประสูติ
๒.พระพุทธรูปปางมหาภิเนษกรมณ์
๓.พระพุทธรูปปางตัดพระเมาลี
๔.พระพุทธรูปปางอธิษฐานเพศบรรพชิต
๕.พระพุทธรูปปางปัจจเวกขณะ
๖.พระพุทธรูปปางบำเพ็ญทุกรกิริยา
๗.พระพุทธรูปปางทรงพระสุบิน
๘.พระพุทธรูปปางรับมธุปายาส
๙.พระพุทธรูปปางเสวยมธุปายาส
๑๐.พระพุทธรูปปางเสี่ยงบารมีลอยถาด
๑๑.พระพุทธรูปปางรับหญ้าคา
๑๒.พระพุทธรูปปางสมาธิเพชร
๑๓.พระพุทธรูปปางมารวิชัย article
๑๔.พระพุทธรูปปางสมาธิ หรือ พระพุทธรูปปางตรัสรู้ article
๑๕.พระพุทธรูปปางถวายเนตร
๑๖.พระพุทธรูปปางจงกรมแก้ว
๑๗.พระพุทธรูปปางเรือนแก้ว
๑๘.พระพุทธรูปปางห้ามมาร
๑๙.พระพุทธรูปปางนาคปรก
๒๐.พระพุทธรูปปางฉันผลสมอ
๒๑.พระพุทธรูปปางประสานบาตร
๒๒.พระพุทธรูปปางรับสัตตุก้อนสัตตุผง
๒๓.พระพุทธรูปปางพระเกศธาตุ
๒๕.พระพุทธรูปปางปฐมเทศนาหรือปางแสดงธรรมจักร
๒๖.พระพุทธรูปปางประทานเอหิภิกขุ
๒๗.พระพุทธรูปปางภัตกิจ
๒๘.พระพุทธรูปปางห้ามสมุทร
๒๙.พระพุทธรูปปางห้ามญาติ
๓๐.พระพุทธรูปปางปลงกัมมัฏฐานหรือปางชักผ้าบังสุกุล
๓๑.พระพุทธรูปปางชี้อัครสาวก
๓๒.พระพุทธรูปปางประทานโอวาทหรือปางแสดงโอวาทปาติโมกข์
๓๓.พระพุทธรูปปางประทับเรือ
๓๔.พระพุทธรูปปางห้ามพยาธิ
๓๕.พระพุทธรูปปางแสดงอิทธิปาฏิหาริย์
๓๖.พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร
๓๗.พระพุทธรูปปางโปรดพุทธบิดา
๓๘.พระพุทธรูปปางรับผลมะม่วง
๓๙.พระพุทธรูปปางแสดงยมกปาฏิหาริย์
๔๐.พระพุทธรูปปางโปรดพุทธมารดา
๔๑.พระพุทธรูปปางเปิดโลก article
๔๒.พระพุทธรูปปางเสด็จลงจากดาวดึงส์
๔๓.พระพุทธรูปปางลีลา
๔๔.พระพุทธรูปปางห้ามแก่นจันทร์
๔๕.พระพุทธรูปปางพระอิริยาบถยืน
๔๖.พระพุทธรูปปางประดิษฐานรอยพระพุทธบาท
๔๗.พระพุทธรูปปางสรงน้ำฝน
๔๘.พระพุทธรูปปางคันธารราฐ : พระพุทธรูปปางขอฝน ( นั่ง )
๔๙.พระพุทธรูปปางคันธารราฐ : พระพุทธรูปปางขอฝน ( ยืน )
๕๐.พระพุทธรูปปางชี้อสุภะ
๕๑.พระพุทธรูปปางชี้มาร
๕๒.พระพุทธรูปปางปฐมบัญญัติ
๕๓.พระพุทธรูปปางขับพระวักกลิ
๕๔.พระพุทธรูปปางสนเข็ม
๕๕.พระพุทธรูปปางประทานพร ( นั่ง )
๕๖.พระพุทธรูปปางประทานพร ( ยืน ) article
๕๗.พระพุทธรูปปางประทานธรรม
๕๘.พระพุทธรูปปางประทานอภัย ( นั่ง )
๕๙.พระพุทธรูปปางโปรดพญาช้างนาฬาคิรี
๖๐.พระพุทธรูปปางโปรดพญาชมพูบดีหรือปางทรงเครื่อง
๖๑.พระพุทธรูปปางปาลิไลยก์
๖๒.พระพุทธรูปปางแสดงโอฬาริกนิมิต
๖๓.พระพุทธรูปปางโปรดอสุรินทราหู
๖๔.พระพุทธรูปปางโปรดอาฬวกยักษ์
๖๕.พระพุทธรูปปางโปรดองคุลิมาลโจร
๖๖.พระพุทธรูปปางโปรดพกาพรหม
๖๗.พระพุทธรูปปางพิจารณาชราธรรม
๖๘.พระพุทธรูปปางปลงอายุสังขาร
๖๙.พระพุทธรูปปางนาคาวโลก
๗๐.พระพุทธรูปปางทรงรับอุทกัง
๗๑.พระพุทธรูปปางทรงพยากรณ์
๗๒.พระพุทธรูปปางโปรดสุภัททปริพาชก
๗๓.พระพุทธรูปปางปรินิพพาน



[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (87885)

สั้นมาก

ผู้แสดงความคิดเห็น ดีดี้ วันที่ตอบ 2009-08-01 12:42:50


ความคิดเห็นที่ 2 (107444)

ก้อดีนะ แต่อยากให้มีเนื้อหามากกว่านี้ได้มั๊ย

ผู้แสดงความคิดเห็น นักเรียนเอง วันที่ตอบ 2010-06-12 18:17:31


ความคิดเห็นที่ 3 (150235)
ขอรายละเอียดเยอะๆหน่อย
ผู้แสดงความคิดเห็น ผู้ใหญ่ วันที่ตอบ 2011-10-18 15:58:29



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล