ReadyPlanet.com
dot
>...ตั้มศรีวิชัย TumAmulet ...< Thailand Amulet Charms
dot
bulletคำแนะนำจากตำรวจเมื่อถูกโกง
bulletเงื่อนไขการรับประกัน การันตีพระเครื่อง
dot
สารบัญพระเครื่องเมืองนคร
dot
bulletทำเนียบพระกรุเมืองนคร
bulletทำเนียบพระเครื่องเมืองนคร
bulletชมรมพระเครื่อง
dot
บูชาพระเครื่อง เครื่องรางของขลัง Amulets Charms Talismans
dot
bulletตลาดพระ amulet for you
bulletเช่า-บูชา เครื่องรางของขลัง
bulletพระหลวงปู่ทวด วัดต่างๆ
dot
จตุคาม-รามเทพ หลักเมืองนคร Jatukamramtep (Jatukarm)
dot
bulletหลักเมืองนครศรีธรรมราช
bulletจตุคาม ของดีนำมาโชว์
bulletบทความ น่ารู้องค์พ่อจตุคาม
bulletJatukam Amulets
bulletบทความจตุคามรามเทพ
dot
ลิงค์น่าสนใจ
dot
bulletหนังสือพิมพ์
bulletลิ้งค์เพื่อนบ้าน
bulletเทศกาล วันสำคัญ
bulletดวง ดูดวง หน้าหลัก
bulletบทความดีๆ
bulletนิทานสอนใจ
bulletวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย
bulletบทสวดมนต์ สำหรับชาวพุทธ
dot
พระเครื่อง นานาสาระ
dot
bulletพระพุทธรูปสำคัญของไทย
bulletคาถา-อาคม พระคาถาอาคม
bulletพระพุทธรูปปางต่างๆ
bulletพุทธศาสนสุภาษิต
bulletข่าวพระเครื่อง
bulletบทความพระเครื่อง
bulletThai Buddha Amulets
bulletข่าวพระพุทธศาสนา
bulletข่าวเครื่องรางของขลัง
bulletสาระพระเครื่องไทย
bulletประวัติพระวิปัสสนาจารย์




พระนอนวัดขุนอินทประมูล วัดขุนอินทประมูล จ.อ่างทอง

พระนอนวัดขุนอินทประมูล วัดขุนอินทประมูล จ.อ่างทอง

ประวัติพระนอนวัดขุนอินทประมูล วัดขุนอินทประมูล จ.อ่างทอง
พระนอนวัดขุนอินทประมูล
ประดิษฐานอยู่ ณ วัดขุนอินทประมูล ซึ่งปัจจุบันเป็นวัดร้าง ตำบลอินทประมูล อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง อยู่ห่างจากตัวเมืองอ่างทองประมาณ 7 กิโลเมตร องค์พระยาว 2 เส้น 5 วา ซึ่งนับเป็นพระนอนหรือพระพุทธไสยาสน์ที่ยาวเป็นอันดับที่สอง รองจากพระนอนจักรสีห์

จากตำนานกล่าวว่า ขุนอินทประมูล ได้ยักยอกเงินหลวงมาสร้าง ครั้งถูกสอบถามว่าเอาเงินจากใหนมาสร้างพระ ขุนอินทประมูลก็ไม่ยอมบอกความจริง จึงถูกลงโทษจนตาย คงมีความชื่อที่ว่า ถ้าบอกแหล่งที่มาของเงินแล้ว ตนจะไม่ได้กุศลตามที่ปราถนา

พระนอนวัดขุนอินทประมูล จากการสันนิฐานมีความเห็นว่าได้สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระพักตรหันไปทางทิศเหนือ พระเศียรหันไปทางทิศตะวันออก เมื่อมองตลอดทั้งองค์มีความสง่างามมาก พระพักตรงดงามได้สัดส่วน แสดงออกถึงความมีเมตตา

ปัจจุบัน องค์พระนอนอยู่กลางแจ้งไม่มีวิหารคลุมเช่นพระนอนองค์อื่น เนื่องจากวิหารเดิมคงหักพังไปนานแล้ว ดังจะเห็นได้จาก เสาพระวิหารที่ยังปรากฎอยู่รอบองค์พระพุทธรูป พระนอนวัดขุนอินทประมูล รอบ ๆ องค์พระมีต้นไม้ขนาดใหญ่หลายต้นขึ้นอยู่โดยรอบ ทำให้มีความสงบร่มเย็น เหมาะแก่การไปนมัสการให้เกิดความสุข สงบ ตามธรรมชาติ ซึ่งแปลกออกไปจากบรรยากาศในพระวิหาร

ไม่พบว่ามีการนมัสการประจำปีองค์ พระนอนวัดขุนอินทประมูล อาจจะเนื่องจากอยู่ที่วัดร้างกลางทุ่งนา ห่างไกลจากชุมชนมาก

 ภาพ/ข้อมูล : ธรรมะไทย
ภาพ/ข้อมูล : หอมรดกไทย




พระพุทธรูปสำคัญของไทย ประวัติพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศ

ประวัติพระเจ้าองค์หลวง วัดศรีมงคลใต้ อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร
พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระแม่ทานจอมภักดี คู่บ้านคู่เมืองอำเภอทุ่งใหญ่
พระพุทธรูปสำคัญ 9 องค์ ณ วังหน้า พระปฏิมาแห่งแผ่นดิน
ประวัติพระเสตังคมณี วัดเชียงมั่น จ.เชียงใหม่ พระแก้วขาว
ประวัติหลวงพ่อวัดน้ำรอบ วัดโคกกลอย จ.พังงา
ประวัติหลวงพ่อทุ่งคา วัดบูรพาราม จ.ปัตตานี
ประวัติ พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช วัดพระมหาธาตุ จ.นครศรีธรรมราช
ประวัติพระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก วัดอรุณราชวรารามวรมหาวิหาร
ประวัติ พระพุทธสิหังคปฏิมากร วัดราชประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
ประวัติพระพุทธศิลามงคลมิ่งเมือง วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
ประวัติหลวงพ่อแซกคำ วัดคฤหบดี กรุงเทพฯ
ประวัติพระสัมพุทธพรรณี วัดราชาธิวาสวิหาร กรุงเทพฯ
พระเจ้าองค์แสน "พระเจ้าแสนห่า" วัดโพธิ์ชัยนาพึง จ.เลย
ประวัติพระพุทธเทววิลาส (หลวงพ่อขาว) วัดเทพธิดาราม กรุงเทพฯ
ประวัติหลวงพ่ออโนทัย วัดจันทาราม จ.ราชบุรี
ประวัติหลวงพ่อเฉย วัดใหญ่อินทาราม จ.ชลบุรี
ประวัติพระพุทธเบญจนวมงคลกาญจน์ วัดลาดขาม จ.กาญจนบุรี
ประวัติหลวงพ่อวัดมะนาว วัดมะนาว จ.สุพรรณบุรี
ประวัติหลวงพ่อพุทโธ วัดปากเพรียว จ.สระบุรี
ประวัติหลวงพ่อใหญ่ วัดโพนชัย จ.เลย
ประวัติหลวงพ่อไตรรัตน์โรจน์ฤทธิ์ วัดปราสาทสิทธิ์ จ.ราชบุรี
ประวัติหลวงพ่อตามใจ วัดพญาไม้ จ.ราชบุรี
ประวัติหลวงพ่อคุ้ม วัดบางแตน จ.ปราจีนบุรี
ประวัติพระพุทธมหาธรรมราชา วัดไตรภูมิ จ.เพชรบูรณ์
หลวงพ่อเศียรนคร วัดบุญนาครักขิตาราม จ.นครนายก
พระคันธารราษฎร์ วัดหน้าพระเมรุราชิการาม จ.อยุธยา
พระอินทร์แปลง วัดเสนาสนาราม จ.พระนครศรีอยุธยา
พระพุทธภัทรปิยปกาศิต วัดกองดิน จ.ระยอง
พระพุทธรูป หลวงพ่อแก่ วัดดุลยาราม จ.สตูล
หลวงพ่อดำ วัดช่องเเสมสาร จ.ชลบุรี
หลวงพ่อใหญ่ศรีวิชัย วัดโพธิ์ศรี จ.หนองบัวลำภู
หลวงพ่อโต วัดไทรใต้ จ.นครสวรรค์
พระพุทธรูป หลวงพ่อแก่ วัดหูกวาง จ.นครสวรรค์
พระพุทธชัยภูมิพิทักษ์ วัดชัยภูมิพิทักษ์ จ.ชัยภูมิ
พระเจ้าพร้าโต้ วัดพระธาตุศรีดอนคำ จ.แพร่
พระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมือง จ.แพร่
หลวงพ่อหิน ศักดิ์สิทธิ์ วัดป่าแป้น จ.เพชรบุรี
หลวงพ่อดีบุก วัดบ้านหงาว จ.ระนอง
พระพุทธรูปวัดพลับ ปางบำเพ็ญทุกรกิริยา จ.จันทบุรี
หลวงพ่อธรรมจักร วัดธรรมามูลวรวิหาร จ.ชัยนาท
พระทองเนื้อสัมฤทธิ์แท้ วัดไชยาติการาม จ.อำนาจเจริญ
พระพุทธรูปหินอ่อน วัดดอนแก้ว จ.ตาก
พระงา วัดมโนรมย์ จ.มุกดาหาร
หลวงพ่อพระอินทร์แปลง วัดพระอินทร์แปลง จ.นครพนม
พระพุทธไสยาสน์ วัดพระพุทธไสยาราม จ.สกลนคร
พระเจ้าตนหลวง วัดกองกาน จ.เชียงใหม่
หลวงพ่อแก่นจันทน์ วัดช่องลม จ.ราชบุรี
หลวงพ่อโต วัดชัยชนะสงคราม จ.ตาก
หลวงพ่อพระพุทธวิเศษ วัดทุ่งศรีวิไล จ.อุบลราชธานี
หลวงพ่อดำ วัดพระธาตุราษฎร์บำรุง จ.หนองคาย
พระสิงห์ปาย (พระพุทธสิหิงค์) วัดศรีดอนชัย
หลวงพ่อโต วัดบุปผาราม
ประวัติหลวงพ่อทองสัมฤทธิ์ วัดสำปะซิว article
ประวัติหลวงพ่อโต วัดนาทวี สงขลา
พระเสริม วัดปทุมวนาราม
หลวงพ่อสัมฤทธิ์ วัดไผ่เงินโชตนาราม
พระพุทธมหามณีรัตน์ปฏิมากร (พระแก้วมรกต)
ประวัติพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก article
พระพุทธสิหิงค์ ตำนานพระพุทธสิหิงค์
พระพุทธสิหิงค์ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พระบรมมหาราชวัง
พระพุทธเทวปฏิมากร วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร
พระศรีศากยมุนี วัดสุทัศนเทพวราราม
พระพุทธชินสีห์ (องค์หน้า) วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
พระศาสดา วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
พระโต วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
พระสิทธารถ วัดพิชัยญาติ กรุงเทพมหานคร
หลวงพ่อวัดมงคลบพิตร วัดมงคลบพิตร จ.พระนครศรีอยุธยา
หลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์ จ.สุพรรณบุรี
พระพุทธไตรรัตนนายก(หลวงพ่อโต) วัดพนัญเชิง จ.พระนครศรีอยุธยา
ประวัติ พระพุทธโสธร วัดโสธรวราราม จ.ฉะเชิงเทรา article
หลวงพ่อเพชร วัดท่าถนน จ.อุตรดิตถ์
ประวัติหลวงพ่อวัดบ้านแหลม วัดบ้านแหลม จ.สมุทรสงคราม
หลวงพ่อโต วัดอินทรวิหาร หลวงพ่อโตวัดอินทร์
พระพุทธนิมิตรวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญ์บรมไตรโลกนาถ
พระไสยา วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
พระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมก วัดป่าโมก จ.อ่างทอง
พระนอนจักรสีห์ วัดพระนอนจักรสีห์ จ.สิงห์บุรี
พระพุทธไสยาสน์วัดโพธิ์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพฯ
พระนอนวัดคูหาภิมุข วัดคูหาภิมุข จ.ยะลา
ประวัติหลวงพ่อพระใส วัดโพธิ์ชัย จ.หนองคาย
หลวงพ่อเพชร วัดท่าหลวง จ.พิจิตร



[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (23580)

ชอบภาพบ้าน วัด และวิถีชีวิตแถบภาคกลาง อยากไปใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางวัฒนธรรมประเพณีแปลกอย่างนั้น กลางปี ๕๑ ททท.เลย ชวนไปเที่ยวภาคกลาง ประทับใจมาก ได้ล่องเรือแม่นำ้สะแก กรัง กินส้มโอหวานชัยนาท ไปกราบพระนอนวัดขุนอินทรประมูล มิน่าไม่มีพระสงฆ์ คำ่แล้วไปนอนโฮมสเตย์บางเจ้าฉ่า มีความสุขมาก ได้ดื่มดำ่วัฒนธรรมและสัมผัสชีวิตชาวบ้าน ขอบคุณ ททท.เลย

ผู้แสดงความคิดเห็น รำไพ กาแก้ว (rampai_tc-at-hotmail-dot-com)วันที่ตอบ 2009-03-15 21:21:40


ความคิดเห็นที่ 2 (107471)

โบราณสถานวัดขุนอิน

ผู้แสดงความคิดเห็น โบราณสถานวัดขุนอิน (dfsgsdbngh-at-ghufh-dot-com)วันที่ตอบ 2010-06-18 09:39:54


ความคิดเห็นที่ 3 (107539)

แบ้งโพธิ์ทอง

ผู้แสดงความคิดเห็น จากแบงค์ โพทอง วันที่ตอบ 2010-06-23 11:19:29


ความคิดเห็นที่ 4 (135019)
เราเป็นคนจังหวัดอ่างทองตัวจริงอยู่วิเศษลองไปเที่ยวตลาดวิเศษบ้างแล้วแวะไปไห้วพระองค์ใหญ่ที่วัดม่วงซิคะ
ผู้แสดงความคิดเห็น luk วันที่ตอบ 2010-07-21 19:56:19


ความคิดเห็นที่ 5 (135022)
บ้านเราไม่มีห้างก็ไม่เห็นเป็นอะไร เราอยู่กันแบบพอเพียง เด็กอ่างทอง
ผู้แสดงความคิดเห็น ติ๋ม วันที่ตอบ 2010-07-22 11:44:47


ความคิดเห็นที่ 6 (135483)

ชอบจัง

ผู้แสดงความคิดเห็น 1062 (mmm-dot-mayoupe-at-abc-dot-com)วันที่ตอบ 2010-09-28 19:18:43


ความคิดเห็นที่ 7 (137127)

้้ชอบปัยเที่ยว วัดขุนอินมากคร๊

เพราะบ้านยุ๊ใกล้ๆกะวัดน่ะคร๊

ส่วนคัยทิ๊อยากจาปัยเที่ยวก๊มาศึกษาดูด้ายณร๊คร๊

ม๊ะใกล้ม๊ะไกลคร๊

รับรองว่า..ม่ายเสียจัยแน่ทิ๊มาเท่ยวอ่างทองคร๊

จากเด็กอ่างทองคนรักอ่างทอง

ผู้แสดงความคิดเห็น ฟ้า วันที่ตอบ 2010-12-16 19:41:50


ความคิดเห็นที่ 8 (147744)

 

             สวัสดีค่ะ เพิ่งเข้าเวปนี้ แต่เอ!!รู้สึกว่า ภาพพระนอนวัดขุนอินที่นำมาลงจะเก่ามากนะคะ เพราะว่า ปัจจุบัน ทางวัดได้มีการบูรณะซ่อมแซมองค์พระ ให้สง่างาม แต่คงสภา พ เดิมไว้และพื้นที่รอบๆองค์พระก็ปลูกหญ้า ดูเรียบร้อย และสบายตาดีค่ะ ส่วนบรรยากาศรอบๆ เหมะแก่การพักผ่อนกาย และ ใจ มากเลยค่ะเชิญท่านที่ยังไม่เคยไปลองไปนมัสการหลวงพ่อวัดขุนอินฯแห่งนี้นะคะ ( ศักดิ์สิทธิ์มากค่ะ ขอบอก ^^)

ผู้แสดงความคิดเห็น อนัตตา (nokhuk_-at-hotmail-dot-com)วันที่ตอบ 2011-05-24 00:54:22


ความคิดเห็นที่ 9 (147745)
         การเดินทางไปสามารถใช้เส้นทางได้ 3 สายคือ สายอ่างทอง-อำเภอโพธิ์ทอง (เส้นทาง 3064) แยกขวาที่      กิโลเมตร 9 เข้าไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร หรือใช้เส้นทางจากจังหวัดสิงห์บุรีไปทางอำเภอไชโย   ประมาณกิโลเมตรที่ 8 จะมีทางแยกซ้ายมือเข้าถึงวัดเป็นระยะทาง 4 กิโลเมตร หรือใช้เส้นทางตัดใหม่สายอำเภอวิเศษชัยชาญ-โพธิ์ทอง (ถนนเลียบคลองชลประทาน) เมื่อถึงอำเภอโพธิ์ทองมีทางแยกเข้าวัดอีก 2 กิโลเมตร
ผู้แสดงความคิดเห็น อนัตตา วันที่ตอบ 2011-05-24 01:19:55


ความคิดเห็นที่ 10 (148010)
สวัดดีค่ะดิฉันเป็นคนอ่างทองอยู่ตำบลป่างิ้วอยู่ใกล้กับตำบลอินธประมูล ห่างกันประมาณ3-4กิโลเมตร ที่นั่นมีพระนอนให้สักการะบูชาเเละมีท่านขุนอินทประมูลซึ่งเป็นคนสร้างวัดนี้ขึ้นมาเเละอากาศภายในวัดยังล่มรื่นเเละเย็นสบายเหมาะสำหลับการมาพักผ่อน
ผู้แสดงความคิดเห็น กนกวรรณ (biw1555-at-abcde-dot-con)วันที่ตอบ 2011-07-19 11:16:46


ความคิดเห็นที่ 11 (150494)

ท่านสร้างแน่ เพื่ออนาคตของวัด เพราะช่วงที่ท่านมาดูไม่มีเวลาบูรณวัด จึงสร้างพระไว้ให้คนรุ่นหลังหาทุ่นบรณะแทน นี้คือผู้ยังรู้อนาคต คือ สมเด็จโต

ผู้แสดงความคิดเห็น คนชอบ วันที่ตอบ 2011-12-21 09:44:10


ความคิดเห็นที่ 12 (150670)
จากหนังสือชีวประวัติสมเด็จพุฒาจารย์โตจากบันทึกของมหาอำมาตย์ตรีพระยาทิพโกษา(สอนโลหะนันท์) ปีฉลูเอกศก จุลศักราช 1191 ปีในศกนี้มหาโตมีอายุ 54 ปี พรรษา 32 ยังอยู่วัดมหาธาตุ มีผู้บอกข่าวว่า โยมผู้หญิงอยู่ทางเหนือป่วยหนักท่านขี่เรือเสาขึ้นไป พร้อมกับ นำเรือสีไปด้วยเพื่อจะพายอวดโยมของท่าน แค่โยมก็ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน ท่านก็ทำฌาปนกิจเสร็จเรียบร้อยแล้วจึงแบ่งทรัพย์มรดกของโยมแก่บรรดาญาติและหลาน ๆ ทั่วกันแล้ว ที่ยังเหลือเป็นเงินทองก็นำมาถึงอำเภอป่าโมกข์ จังหวัดอ่างทอง ณ ที่วัดขุนอินทร์ประมูล ท่านก็เอาทรัพย์นั้นออกสร้างพระนอนไว้ มีลักษณะงดงามองค์หนึ่งยาวมาก สร้างอยู่หลายปีจึงสำเร็จ ต่อนั้นท่านก็เป็นพระสงบมีจิตแน่วแน่ต่อญาณคติ มีวิถีจิตแน่วไปในโลกกุตตรภูมิ ไม่ฟุ้งซ่านโอ่อ่า เจียมตัวเจียมตน เทศน์ได้ปัจจัยมาสร้างพระนอนนั้นจนหมด ท่านทำซอมซ่อเงียบ ๆ สงบปากเสียงมา 25 ปี ตลอดรัชสมัยของแผ่นดินพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ จากหนังสือ ชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์โต จากบันทึกของมหาอำมาตย์ตรี พระยาโกษา (สอน โลหะนันทน์)
ผู้แสดงความคิดเห็น rat วันที่ตอบ 2012-02-01 17:21:16


ความคิดเห็นที่ 13 (150811)

วัดขุนอินทประมูลเป็นวัดที่เก่าแก่ สร้างโดยพระเจ้าเลอไท ในกรุงสุโขทัยท่านเป็นคนสร้างและท่านปล่อยทิ้งร้างไว้ท่านขุนอิน ซึ่งเป็นคนเก็บภาษีชาวบ้านท่านมาพบองค์พระ ท่านจึงนำเงินของท่านมาบูรณะจนเสร็จแต่เงินของท่านก็ยังไม่พอท่านจึงลักลอบเงินภาษีมาใช้ พอทางหลวงทราบเรื่องจึงสั่งโบย ท่านขุนอินจึงเสียชีวิตลง 

นี่คือประวัติของวัดขุนอินทประมูลค่ะ แต่ถ้าอยากรู้เพิ่มก็มาที่วัดเลยนะคะ

                  จาก

   มัคคุเทศก์น้อยวัดขุนอินทประมูลค่ะ

       สวัสดีค่ะ

ผู้แสดงความคิดเห็น มัคคุเทศก์น้อย วันที่ตอบ 2012-03-17 00:52:24



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล